ประวัติองค์กร
ตำบลโละจูดได้รับการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๘
ประวัติตำบล
คำว่า “โละจูด” เป็นคำพื้นบ้าน โดยความเป็นมาของตำบลโละจูด มาจากเรื่องที่เล่าสืบกันมาในสมัยก่อนพื้นที่นี้เป็นป่าเขามีช้างอยู่เป็นจำนวนมาก ได้มีราษฎรในท้องที่จับช้างจากประเทศมาเลเซีย (พื้นที่ติดกัน)ได้มา ๑ เชือก และได้นำมาถึงบริเวณดังกล่าว สลัดโซ่ที่ล่ามช้างเกิดหลุดออก (ภาษาท้องถิ่นสือโละ) และช้างได้วิ่งเตลิดเข้าป่า (ภาษาท้องถิ่น คือ ลุจูด) จึงเกิดเป็นคำว่า ลุจูด หรือ ลูจุด แปลว่าช้างหลุด ต่อมาชุมชนนี้เจริญขึ้น มีการเรียกเพี้ยนออกไปจากลุจูด เป็น โละจูด ในปัจจุบัน
ที่ตั้ง
ตำบลโละจูดเป็นตำบลหนึ่งใน ๖ ตำบล ของอำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอำเภอแว้งและอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอแว้ง ระยะทาง ๑๑ กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ จด ตำบลแม่ดง และตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง
ทิศใต้ จด อำเภอตาเนาะแมเราะ รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
ทิศตะวันออก จด อำเภอตาเนาะแมเราะ รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
ทิศตะวันตก จด อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
พื้นที่
ตำบลโละจูดมีพื้นที่ทั้งหมด ๗๐.๔๐๖ ตารางกิโลเมตร และเป็นพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด จำนวนทั้งสิ้น ๖๓.๓๖๖ ตารางกิโลเมตร และเป็นพื้นที่ของเทศบาลตำบลบูเกะตา จำนวน ๗.๐๔ ตารางกิโลเมตร
ภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ราบเชิงเขา โดยพื้นที่ตอนกลางและทางทิศตะวันออกจะเป็นพื้นที่ราบ ด้านทิศใต้และทิศตะวันตกจะเป็นพื้นที่ราบค่อนข้างสูงและเป็นภูเขา มีพื้นที่ติดแม่น้ำสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นเส้นกั้นเขตแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย
การคมนาคม
ถนน
๑. ถนนลาดยาง ๑๒ สาย ระยะทาง ๔๓.๑๑๐ ก.ม.
๒. ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ๑๙ สาย ระยะทาง ๗.๙๕๐ ก.ม.
๓. ถนนลูกรัง ๔ สาย ระยะทาง ๑๑.๘๐๐ ก.ม.
๔. ถนนบุกเบิก ๔ สาย ระยะทาง ๗.๖๐๐ ก.ม.
สะพาน
๑. สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ๑๒ แห่ง
๒. สะพานไม้ ๑ แห่ง
๓. ท่อเหลี่ยมคอนกรีตเสริมเหล็ก ๕ แห่ง
เขตการปกครอง (แสดงจำนวนหมู่บ้านที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล)
จำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล มีทั้งสิ้นจำนวน ๘ หมู่บ้าน หมู่บ้านที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลโละจูดจำนวน ๖ หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ ๑, ๕, ๖, ๗ ,๘ ,๙ และมีพื้น ที่บางส่วนอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวน ๒ หมู่บ้าน หมู่ที่ ๓,๔ ดังนี้
๑. หมู่ที่ ๑ บ้านนูโร๊ะ นายฮานาฟี เจ๊ะมามะ (ผู้ใหญ่บ้าน)
๒. หมู่ที่ ๒ บ้านบูเก๊ะตา นายอับดุลเลาะ สะมะแอ (ผู้ใหญ่บ้าน)
๓. หมู่ที่ ๓ บ้านเจ๊ะยอ นายตูแวโซ๊ะ ทุแวโว๊ะ (กำนัน)
๔. หมู่ที่ ๔ บ้านเจ๊ะเด็ง นายมะซือลัม มามุ (ผู้ใหญ่บ้าน)
๕. หมู่ที่ ๕ บ้านบาลา นายมะอะอูมือรี ยูนุห์ (ผู้ใหญ่บ้าน)
๖. หมู่ที่ ๖ บ้านเขาสามสิบ นายกูสน ยูโซ๊ะ (ผู้ใหญ่บ้าน)
๗. หมู่ที่ ๗ บ้านโละจูด นายอารงค์ เจ๊ะเต๊ะ (ผู้ใหญ่บ้าน)
๘. หมู่ที่ ๘ บ้านสาวอ นายอามิ อาแซ (ผู้ใหญ่บ้าน)
๙. หมู่ที่ ๙ บ้านราษฎร์พัฒนา นายมะตอเฮะ ดือราแม (ผู้ใหญ่บ้าน)
หมายเหตุ หมู่ที่ ๒ บ้านบูเก๊ะตา อยู่ในเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา
จำนวนประชากร
จำนวนประชากรทั้งสิ้น ๗,๒๗๗ คน ดังนี้
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร ( คน ) |
จำนวนครัวเรือน ( หลัง ) |
||
ชาย |
หญิง |
รวม |
|||
๑ |
บ้านนูโร๊ะ |
๑,๐๘๘ |
๑,๒๐๕ |
๒,๒๖๓ |
๔๕๑ |
๓ |
บ้านเจ๊ะยอ |
๒๖ |
๒๔ |
๕๐ |
๑๕ |
๔ |
บ้านเจ๊ะเด็ง |
๔๓๖ |
๔๔๒ |
๘๗๘ |
๑๕๐ |
๕ |
บ้านบาลา |
๔๑๒ |
๔๔๐ |
๗๙๙ |
๑๗๕ |
๖ |
บ้านเขาสามสิบ |
๕๘๗ |
๕๙๐ |
๑,๑๗๗ |
๓๙๗ |
๗ |
บ้านโละจูด |
๔๐๑ |
๓๗๓ |
๗๗๔ |
๑๕๔ |
๘ |
บ้านสาวอ |
๔๖๐ |
๔๔๔ |
๙๐๔ |
๒๓๓ |
๙ |
บ้านราษฎร์พัฒนา |
๓๒๑ |
๓๗๔ |
๖๙๕ |
๑๙๕ |
รวม |
๓,๗๓๑ |
๓,๘๙๒ |
๗,๖๒๕ |
๑,๖๖๗ |
ที่มา : ที่ทำการปกครองอำเภอแว้ง ข้อมูลตามทะเบียนราษฎร์ ณ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ความหนาแน่นของประชากรประมาณ ๑๑๕ คน : ตารางกิโลเมตร
การศึกษา
องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด มีโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ จำนวน ๕ โรงเรียน ได้แก่
ระดับประถมศึกษา
๑) โรงเรียนบ้านนูโร๊ะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นราธิวาส เขต ๒
เปิดสอนระดับอนุบาลถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชื่อผู้อำนวยการโรงเรียน นายอับดุลลาเตฟ ยูนุ
๒) โรงเรียนนิคมสร้างตนเองแว้งสายโท ๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นราธิวาส เขต ๒
เปิดสอนระดับอนุบาลถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชื่อผู้อำนวยการโรงเรียน นายอดุลย์ เวทมาหะ
๓) โรงเรียนเทพประทานบ้านเจ๊ะเด็ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นราธิวาสเขต ๒
เปิดสอนระดับอนุบาลถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชื่อผู้อำนวยการโรงเรียน นายสมพงษ์ ราชจันทร์
๔) โรงเรียนเทพประทานไทยยืนยง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นราธิวาสเขต ๒
เปิดสอนระดับอนุบาลถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ชื่อผู้อำนวยการโรงเรียน นายไพโรจน์ เพ็ญจำรัส
ระดับมัธยมศึกษา
๑) โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์นราธิวาส สังกัดสำนักงานการศึกษาพิเศษ
เปิดสอนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
ชื่อผู้อำนวยการโรงเรียน นายสมเกียรติ สุทธิเจริญพานิชย์
โรงเรียนตาดีกา
องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด มีโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ จำนวน ๖ โรงเรียน ได้แก่
๑. โรงเรียนนูรูดดีน (บ้านนูโร๊ะ) หมู่ที่ ๑ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
เปิดสอนระดับ ชั้นที่ ๑ – ๖ ครูใหญ่ ชื่อ นายเจ๊ะสือแม เจ๊ะมามะ
หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๘๔๘๕ ๘๕๓๐๔
๒. โรงเรียนอัซซาบีรีน (บ้านบาลา) หมู่ที่ ๕ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
เปิดสอนระดับ ชั้นที่ ๑ – ๖ ชื่อครูใหญ่ นายเอิบบือราเฮง ลาเตะ
หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๘๕๖๗๓ ๗๐๑๑
๓. โรงเรียนอัลอับรอรี (บ้านเขาสามสิบ) หมู่ที่ ๖ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
เปิดสอนระดับ ชั้นที่ ๑ – ๖ ครูใหญ่ชื่อ นายมหามะลีกี เระบารู
๔. โรงเรียนดารุลอิสลามฮิดดีนียะห์ (บ้านโละจูด) หมู่ที่ ๗ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
เปิดสอนระดับ ชั้นที่ ๑ – ๖ ครูใหญ่ชื่อ นายมะหามะ บือราเฮง
๕. โรงเรียนดารุลวิทยา (บ้านสาวอ) หมู่ที่ ๘ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
เปิดสอนระดับ ชั้นที่ ๑ – ๖ ครูใหญ่ชื่อ นายซารอเด็ง มะแอ
หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๘๔๘๖๑ ๙๖๖๑
๖. โรงเรียนนิคมมียะห์ (บ้านราษฎร์พัฒนา) หมู่ที่ ๙ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
เปิดสอนระดับ ชั้นที่ ๑ – ๖ ครูใหญ่ชื่อ นายมักตา ดอเลาะ
หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๘๔๘๖ ๐๒๓๑๕
- โรงเรียนบ้านนูโร๊ะ
สถิติจำนวนนักเรียนและจำนวนครูตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗
ชั้น |
จำนวนนักเรียน |
||||||||
๒๕๕๕ |
๒๕๕๖ |
๒๕๕๗ |
|||||||
ชาย |
หญิง |
รวม |
ชาย |
หญิง |
รวม |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
อ. |
๒๖ |
๒๗ |
๕๓ |
๒๕ |
๒๙ |
๕๔ |
๑๙ |
๒๙ |
๔๘ |
ป.๑ |
๑๕ |
๑๙ |
๓๔ |
๗ |
๑๖ |
๒๓ |
๑๔ |
๑๔ |
๒๘ |
ป.๒ |
๗ |
๒๐ |
๒๗ |
๑๖ |
๒๑ |
๓๗ |
๖ |
๑๔ |
๒๐ |
ป.๓ |
๑๒ |
๑๕ |
๒๗ |
๘ |
๒๐ |
๒๘ |
๑๘ |
๑๘ |
๓๖ |
ป.๔ |
๑๔ |
๙ |
๒๓ |
๑๒ |
๑๔ |
๒๖ |
๙ |
๒๐ |
๒๙ |
ป.๕ |
๑๒ |
๑๓ |
๒๕ |
๑๕ |
๘ |
๒๓ |
๑๐ |
๑๒ |
๒๒ |
ป.๖ |
๑๙ |
๑๐ |
๒๙ |
๑๐ |
๑๓ |
๒๓ |
๑๕ |
๙ |
๒๔ |
รวม |
๑๐๕ |
๑๑๓ |
๒๑๘ |
๙๓ |
๑๒๑ |
๒๑๔ |
๙๑ |
๑๑๙ |
๒๐๗ |
(ข้อมูลจาก : โรงเรียนบ้านนูโร๊ะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ณ มิถุนายน ๒๕๕๗)
- โรงเรียนนิคมสร้างตนเองแว้งสายโท ๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นราธิวาส เขต ๒
สถิติจำนวนนักเรียนและจำนวนครูตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗
ชั้น |
จำนวนนักเรียน |
||||||||
๒๕๕๕ |
๒๕๕๖ |
๒๕๕๗ |
|||||||
ชาย |
หญิง |
รวม |
ชาย |
หญิง |
รวม |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
อ. |
๓๙ |
๓๑ |
๗๐ |
๒๙ |
๓๐ |
๕๙ |
๒๕ |
๒๘ |
๕๓ |
ป.๑ |
๒๓ |
๑๓ |
๓๖ |
๒๑ |
๑๒ |
๓๓ |
๒๑ |
๒๑ |
๔๒ |
ป.๒ |
๑๖ |
๑๓ |
๒๙ |
๑๙ |
๑๓ |
๓๒ |
๑๗ |
๑๒ |
๒๙ |
ป.๓ |
๑๓ |
๘ |
๒๑ |
๑๕ |
๑๒ |
๒๗ |
๑๘ |
๑๒ |
๓๐ |
ป.๔ |
๑๑ |
๘ |
๑๙ |
๑๓ |
๑๐ |
๒๓ |
๑๒ |
๑๒ |
๒๔ |
ป.๕ |
๑๕ |
๑๖ |
๓๑ |
๑๓ |
๑๐ |
๒๓ |
๑๔ |
๑๐ |
๒๔ |
ป.๖ |
๑๐ |
๑๐ |
๒๐ |
๑๕ |
๑๒ |
๒๗ |
๑๔ |
๘ |
๒๒ |
รวม |
๑๒๗ |
๙๙ |
๒๒๖ |
๑๒๕ |
๙๙ |
๒๒๔ |
๑๒๑ |
๑๐๓ |
๒๒๔ |
จำนวนครู |
||||||||
๒๕๕๕ |
๒๕๕๖ |
๒๕๕๗ |
||||||
ชาย |
หญิง |
รวม |
ชาย |
หญิง |
รวม |
ชาย |
หญิง |
รวม |
๘ |
๘ |
๑๖ |
๗ |
๙ |
๑๖ |
๗ |
๑๐ |
๑๗ |
(ข้อมูลจาก : โรงเรียนนิคมสร้างตนเองแว้งสายโท ๒ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ณ มิถุนายน ๒๕๕๗)
ศาสนา
ตำบลโละจูด มี มัสยิด ๙ แห่ง และมัดราเซาะห์ ๗ แห่ง
ชื่อมัสยิด |
ที่ตั้ง |
รายชื่อผู้นำศาสนา |
๑. มัสยิดนูรูลฮูดา บ้านนูโร๊ะ |
หมู่ที่ ๑ |
โต๊ะอีหม่าม นายเจ๊ะสือแม เจ๊ะมามะ คอเต็บ นายอับดุลรอฮิม เจ๊ะมามะ บีหลั่น นายอิสมะแอ ยะโกะ |
๒. มัสยิดดารูลซาร์อาดะห์ บ้านบูเก๊ะตา |
หมู่ที่ ๒ |
โต๊ะอีหม่าม นายแวสือมาแอ แวอาแซ คอเต็บ นายซาการียา ดือราแม บีหลั่น นายรอยะ สะมะแอ |
๓. มัสยิดเอาวลาดียะห์อีวาน บ้านเจ๊ะยอ |
หมู่ที่ ๓ |
โต๊ะอีหม่าม นายอับดุลเลาะห์ ลอแม คอเต็บ นายอารง อาแวกือจิ บีหลั่น นายอาซิ ลีลา |
๔. มัสยิดดารุลฟาละห์ บ้านเจ๊ะเด็ง |
หมู่ที่ ๔ |
โต๊ะอีหม่าม นายสีฮาบูเด็ง อูเซ็ง คอเต็บ นายรอนี เจ๊ะมุ บีหลั่น นายกำมารูซามันธ์ อามะ |
๕. มัสยิดราวฎอตุลญันนะห์ บ้านบาลา |
หมู่ที่ ๕ |
โต๊ะอีหม่าม นายเอิบบือราเฮง ลาเต๊ะ คอเต็บ นายดอเระ และโซะ บีหลั่น นายมะเย็ง อาแว |
๖. มัสยิดอัลอับรอรี บ้านเขาสามสิบ |
หมู่ที่ ๖ |
โต๊ะอีหม่าม นายมะหามะลีกี เระบารู คอเต็บ นายสะรีมิง อับอุลเลาะ บีหลั่น นายมะแอ ยะโกะ |
๗. มัสยิดดารุลอิสลาฮิดดีนียะห์ บ้านโละจูด |
หมู่ที่ ๗ |
โต๊ะอีหม่าม นายมาหามะ บือราเฮง คอเต็บ นายมะสาและ บือซา บีหลั่น นายอาซัน อาแซ |
๘. มัสยิดดารุซซาลาม บ้านสาวอ |
หมู่ที่ ๘ |
โต๊ะอีหม่าม นายซารอเด็ง มะแอ คอเต็บ นายซับรี มะยะโก๊ะ บีหลั่น นายไซนูเดง หามะ |
๙. มัสยิดนิคมมียะห์ บ้านราษฎร์พัฒนา |
หมู่ที่ ๙ |
โต๊ะอีหม่าม นายมักตา ดอเลาะ คอเต็บ นายมะยูโซ๊ะ บูละ บีหลั่น นายยะโกะ วาจิ |
วัด จำนวน ๑ แห่ง คือ วัดนิคมแว้ง
เจ้าอาวาส คือ พระครูวิสุทธิสีลาภรณ์
รองเจ้าอาวาส คือ พระครูอาทรศาสนธรรม
สภาพทางสังคม
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
สถานีตำรวจภูธรตำบลโล๊ะจูด ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๖ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ข้อมูลสถิติคดีต่างๆ ในเขตตำบลโละจูด
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา จำนวน ๑ แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๕ บ้านบาลา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาสมีเนื้อที่ประมาณ ๔๓๓ ตารางกิโลเมตร เสมือนประตูสู่ป่าบาลาอันอุดมสมบูรณ์
มีลำน้ำ ๑ สาย
แม่น้ำสุไหงโก-ลก ไหลผ่านหมู่ที่ ๘ , ๒ ,๑
ลำคลอง ๕ สาย บึง จำนวน ๓ แห่ง
คลองอัยกาดิง ไหลผ่านหมู่ที่ ๕ บึงละหานนูโร๊ะ หมู่ที่ ๑
คลองบาลา ไหลผ่านหมู่ที่ ๕ ,๘ บึงสาวอ หมู่ที่ ๘
คลองโละจูด ไหลผ่านหมู่ที่ ๗ , ๖, ๓, ๒ บึงละหาร หมู่ที ๒
คลองควนแดง ไหลผ่านหมู่ที่ ๑
คลองดูบง ไหลผ่านหมู่ที่ ๑
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ในเขตตำบลโละจูด ที่จดทะเบียน ณ สำนักงานเกษตร อำเภอแว้ง มีดังนี้
๑. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๐๒ วิสาหกิจชุมชนปรับปรุงยางพารา ๖๐/๑ หมู่ที่ ๕ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส อนุมัติเมื่อวันที่ ๐๕/๐๖/๒๕๔๙
๒. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๐๓ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลี้ยงโคบ้านวังกระบือ ๑๒ หมู่ที่ ๗ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส อนุมัติเมื่อวันที่ ๐๕/๐๖/๒๕๔๙
๓. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๐๕ วิสาหกิจชุมชนบ้านเขาสามสิบ ๑๗๘/๑ หมู่ที่ ๖ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส อนุมัติเมื่อวันที่ ๒๕/๐๕/๒๕๕๐
๔. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๐๖ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลี้ยงโคบ้านบาลาตำบลโละจูด ๓๖/๔ หมู่ที่ ๕ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส
๕. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๐๘ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มการเลี้ยงโคเนื้อ ๑๖ หมู่ที่ ๗ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส
๖. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๑๐ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านราษฎร์พัฒนา ๑๖๕/๔ หมู่ที่ ๙ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส
๗. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๑๑ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลี้ยงโคเนื้อ ๔๘/๑ หมู่ที่ ๕ บ้านบาลา ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส
๘. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๑๒ วิสาหกิจชุมชนดอกไม้ประดิษฐ์บ้านราษฎร์พัฒนา ๑๔ หมู่ที่ ๙ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส
๙. ๕-๙๖-๐๘-๐๔/๑-๐๐๑๓ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ๑๐๐ หมู่ที่ ๘ ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส
สาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๒ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนูโร๊ะ ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ตั้งอยู่ในเขต อบต. และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โละจูด ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๓ บ้านสูแก ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลบูเก๊ะตา
๑. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนูโร๊ะ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๑ บ้านนูโร๊ะ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่รับผิดชอบ ได้แก่ หมู่ที่ ๑, ๖, และ ๙
เจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน ๕ คน
๑. นางนุชนาถ สะมะแอ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ (ผอ.รพ.สต.บ้านนูโร๊ะ)
๒. นางโนรเดียนา อาแซ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
๓. นางสาวปรีดา บินมูซอ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
๔. นางสาวซูไนดา วาเตะ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
๕. นายมะซูฮัยรี เจ๊ะเงาะ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญการ
ลูกจ้างที่ปฏิบัติงาน จำนวน ๒ คน
๑. นางนอร์รีนา เหาะสัน ตำแหน่ง ลูกจ้างคีย์ข้อมูล
๒. นางสาวสีตีอาตีเกาะ มามะ ตำแหน่ง ลูกจ้างทำความสะอาด
๒. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโล๊ะจูด ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๓ บ้านสูแก ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่รับผิดชอบ ได้แก่ หมู่ที่ ๕, ๗, ๘ และบางส่วนของหมู่ที่ ๓ และ ๔ ( เขต อบต.)
เจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลโล๊ะจูด จำนวน ๗ คน
๑. นางจินตนา เลาะนะ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ (ผอ.รพ.สต.โล๊ะจูด)
๒. นางสาวยุพา ทองเมือง ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
๓. นางแวเยาะ วาเย็ง ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
๔. นางหนึ่งฤทัย เบ็ญสันติ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
๕. นางสาวสุดา ยะโก๊ะ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ
๖. นายนิอาแซ หะยีดอเลาะ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุข ชำนาญงาน
๗. นางสาวสุรันนา มะอุง ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุข ปฏิบัติงาน
๘. นางสาวนูรูลอาย มามะ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุข
๙. นางสาวนูรุฮูดา มะเด็ง ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุข (แพทย์แผนไทย)
๑๐. นางสาวอาลาวียะห์ ดาโอะ ตำแหน่ง ทันตสาธารณสุข
ลูกจ้างที่ปฏิบัติงาน จำนวน ๔ คน
๑. นางสาวโรสลีนา อาซิ ตำแหน่ง ผู้ช่วย/อสม.เชิงรุก
๒. นายวุฒิชัย ราแดง ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
๓. นางโนรไอนี มะแปอิง ตำแหน่ง แม่บ้าน/อสม.เชิงรุก
๔. นายมาหามะอาดือแน มะแซ ตำแหน่ง คนสวน
ศักยภาพของท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูดได้มีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และสมาชิกสภาฯ ในวันอาทิตย์ ที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๔ และคณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับรองผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาฯ และนายกองค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔
คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด
๑. นายซูลกีฟรี เจ๊ะมามะ นายก อบต.โละจูด
๒. นายนาวี สะอิ รองนายก อบต.โละจูด (แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๒๒ ธ.ค. ๕๔ )
๓. นายอาหามะ บือราเฮง รองนายก อบต. โละจูด
๔. นายอำรัมย ยา เลขานุการนายก อบต. โละจูด
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด
๑. นายมาหามะดนนียา บินอูเซ็ง ประธานสภาอบต. โละจูด
๒. นายอับดุลฮาดี มะเย็ง รองประธานสภาอบต. โละจูด
๓. นายอำนวย เรืองสุวรรณ์ เลขานุการสภาอบต. โละจูด
๔. นายแวซำซูเด็ง แวยูโซ๊ะ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๑
๕. นายรอซาลี มะสาและ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๑
๖. นายแวอาซิ แวหามะ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๓
๗. นายมาฮามะเซ็ง เจ๊ะมิ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๓
๘. -ว่าง- สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๔
๙. น.ส.เกศนี ยา สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๕
๑๑. นายนิโซ๊ะ นาสูนา สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๕
๑๒. นายวัชรชัย ยูโซ๊ะ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๖
๑๓. นายเจ๊ะเปาะสู เจ๊ะดือเร๊ะ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๖
๑๔. นายอารงค์ เจ๊ะเต๊ะ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๗ (รับรองผลวันที่ ๑๗ เม.ย. ๕๕)
๑๕. นางฟารีดะห์ อะหะมะ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๗
๑๗. นายอามิ อาแซ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๘
๑๘. นายอดุลย์ สตาปอ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๙
๑๙. นายมะยูโซะ บูละ สมาชิกสภา อบต.โละจูด หมู่ที่ ๙
องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด แบ่งราชการบริหารออกเป็น ๔ ส่วน ดังนี้
๑. สำนักงานปลัด อบต.
๒. ส่วนการคลัง
๓. ส่วนโยธา
๔. ส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด มีทั้งหมด ๔๖ คน แยกเป็น พนักงานส่วนตำบลจำนวน ๑๐ คน พนักงานจ้างตามภารกิจ จำนวน ๑๗ คน และพนักงานจ้างทั่วไป จำนวน ๑๑ คน พนักงานจ้างเหมาตามโครงการฯ จำนวน ๘ คน ดังตารางต่อไปนี้
ส่วนราชการ |
จำนวนพนักงานส่วนตำบล ( แยกตามระดับ ) |
พนักงานจ้าง |
รวม |
||||||||||
๑ |
๒ |
๓ |
๔ |
๕ |
๖ |
๗ |
๘ |
๙ |
พนักงานจ้าง ตามภารกิจ |
พนักงานจ้าง ทั่วไป |
พนักงานจ้างเหมาตามโครงการฯ |
||
๑. ปลัด อบต. |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
๑ |
- |
- |
- |
- |
- |
๑ |
๒. สำนักงานปลัด |
- |
- |
๑ |
๑ |
๒ |
๑ |
- |
- |
- |
๘ |
๑๐ |
๗ |
๓๐ |
๓. ส่วนการคลัง |
- |
- |
๑ |
- |
- |
๑ |
- |
- |
- |
๔ |
- |
๑ |
๗ |
๔. ส่วนโยธา |
- |
- |
- |
- |
- |
๒ |
- |
- |
- |
๔ |
- |
- |
๖ |
๕. ส่วนการศึกษาฯ |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
๑ |
๑ |
- |
๒ |
รวม |
- |
- |
๒ |
๑ |
๒ |
๔ |
๑ |
- |
- |
๑๗ |
๑๑ |
๘ |
๔๖ |
(ข้อมูลจาก : สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด ณ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗)
องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด มีอำนาจหน้าที่โดยสรุป ดังนี้
- จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
- รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยสิ่งปฏิกูล
- ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
- ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
- ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
- คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำเป็นและสมควร
- ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
- ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
- ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
- ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
- ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
- ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
- บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
- การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
- หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
- ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
- กิจการเกี่ยวกับพาณิชย์
- การท่องเที่ยว
- การผังเมือง
ฐานะการคลังย้อนหลัง ๓ ปี
รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด
รายการ |
รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด |
||
พ.ศ. ๒๕๕๔ / บาท |
พ.ศ. ๒๕๕๕ / บาท |
พ.ศ. ๒๕๕๖/บาท |
|
ภาษีอากร |
๑๖๔,๒๒๔.๕๕ |
๑๖๔,๖๒๒.๑๗ |
๑๖๐,๗๑๓.๘๗ |
ค่าธรรมเนียมค่าปรับและใบอนุญาต |
๒๓๐,๕๓๗ |
๘๐,๕๗๓ |
๔๑,๐๘๒ |
รายได้จากทรัพย์สิน |
๑๐๙,๘๑๗.๘๖ |
๑๘๘,๔๔๕.๗๘ |
๒๒๑,๗๗๔.๕๓ |
ภาษีจัดสรร |
๑๐,๗๐๑,๖๗๔.๒๐ |
๑๑,๕๑๐,๐๙๒.๒๗ |
๑๖,๓๕๖,๕๔๙.๖๖ |
เงินอุดหนุน |
๘,๙๙๓,๖๖๗ |
๑๒,๕๓๐,๔๔๒.๓๔ |
๑๑,๐๒๕,๖๔๓ |
รายได้เบ็ดเตล็ด |
๑,๐๑๐ |
๒๗,๗๖๐ |
๘,๓๘๘.๘๘ |
เงินอุดหนุนที่รัฐบาลให้โดยระบุวัตถุประสงค์ |
๕,๕๕๖,๗๕๘.๕๐ |
๑๒,๐๕๘,๙๖๒.๙๕ |
๙,๓๒๘,๘๒๔.๐๙ |
เงินอุดหนุนอปท. อื่น |
- |
- |
- |
รวม |
๒๕,๗๕๗,๖๘๙.๑๑ |
๓๖,๕๖๐,๘๙๘.๕๑ |
๓๗,๑๔๒,๙๗๕.๙๕ |
รายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด
รายการ |
รายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด |
||
พ.ศ. ๒๕๕๔ / บาท |
พ.ศ. ๒๕๕๕ / บาท |
พ.ศ. ๒๕๕๖/บาท |
|
งบกลาง |
๑,๗๐๓,๐๖๖.๘๐ |
๔๓๕,๒๗๐ |
๑,๐๘๒,๗๙๐ |
เงินเดือน |
๒,๔๙๒,๙๗๙.๗๐ |
๔,๐๕๐,๒๓๒.๔๘ |
๔,๒๙๙,๑๓๗.๗๒ |
ค่าจ้างชั่วคราว |
๒,๐๕๖,๐๔๐ |
๒,๑๘๔,๓๙๓.๕๕ |
๓,๐๐๐,๓๔๐.๐๔ |
ค่าตอบแทน |
๒๓๓๗,๒๔๑.๗๒ |
๑,๐๖๓,๗๙๙ |
๑,๑๔๙,๐๕๑ |
ค่าใช้สอย |
๒,๒๖๐,๒๐๑.๒๖ |
๓,๒๒๘,๓๓๐.๙๐ |
๒,๔๓๙,๕๘๖.๔๘ |
ค่าวัสดุ |
๒,๔๑๐,๙๐๕.๑๐ |
๒,๓๙๙,๐๔๗.๓๕ |
๒,๕๓๓,๑๘๘.๓๖ |
ค่าสาธารณูปโภค |
๑๙๖,๓๐๕.๙๗ |
๑๘๑,๒๘๔.๑๔ |
๑๙๔,๕๙๑.๘๘ |
เงินอุดหนุน |
๒,๓๐๖,๔๙๐ |
๒,๘๙๓,๘๔๙.๕๗ |
๒,๖๖๑,๑๖๐ |
ค่าครุภัณฑ์ |
๓๖๒,๙๗๑.๘๐ |
๓๓๗,๖๒๐.๙๖ |
๑,๗๘๐,๙๓๒.๘๘ |
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง |
๙๓๕,๐๐๐ |
๓,๑๑๓,๐๐๐ |
๑,๘๓๗,๕๐๐ |
รายจ่ายอื่นๆ |
๑๐,๐๐๐ |
๑๐,๐๐๐ |
๑๓,๐๐๐ |
รายจ่ายเงินอุดหนุนที่รัฐบาลให้โดยระบุวัตถุประสงค์ |
๕,๕๕๖,๗๕๘.๕๐ |
๑๒,๐๕๘,๙๖๒.๙๕ |
๙,๓๒๘,๘๒๔.๐๘ |
รายจ่ายเงินอุดหนุน อปท. อื่น |
- |
- |
- |
รวม |
๓,๑๒๙,๖๒๘.๒๖ |
๓๑,๙๕๕,๗๙๐.๙ |
๓๐,๓๒๐,๑๐๒.๔๔ |